...
...
เผยแพร่: 16 ม.ค. 2561
หน้า: 133-141
ประเภท: บทความวิจัย
View: 269
Download: 144
Download PDF
ความต้องการจำเป็นในการศึกษาทางทฤษฎีและการปฏิบัติการการสอนภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อนักศึกษาวิชาชีพครู สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ผ่านการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ
Needs Analysis of English Language Teaching in Theories and Practice for English-major Students through Productive-based Learning
ผู้แต่ง
วราภรณ์ วราธิพร, ปวีณัย บุญปก, อรนุช สมประสิทธิ์, ประวิทย์ ธงชัย
Author
Varaporn Varatiporn, Paweenai Boonpok, Oranuch Somprasit, Prawit Thongchai

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นในการศึกษาทางทฤษฎีและการปฏิบัติการสอนภาษาอังกฤษที่จำเป็นต่อนักศึกษาวิชาชีพครูสาขาวิชาภาษาอังกฤษผ่านการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ เพื่อนำผลที่ได้มาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษผ่านการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 114 คน อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 5 คน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้ใช้บัณฑิต จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามจำนวน 2 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 แบบสอบความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต และชุดที่ 2 แบบสอบถามความต้องการศึกษาทางทฤษฎีและการปฏิบัติการสอนภาษาอังกฤษผ่านการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงในเนื้อหาและวิเคราะห์หาความเที่ยง มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) ผลการวิจัยพบว่า แบบสอบถามชุดที่ 1 มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) เท่ากับ 0.98 มุ่งเน้นด้านคุณภาพบัณฑิต ด้านความรู้ และด้านการจัดการเรียนการสอน และแบบสอบถามชุดที่ 2 เท่ากับ 0.99 บัณฑิตมุ่งเน้นด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านหลักสูตร และด้านการวัดและประเมินผล

Abstract

The purpose of this research was to study the needs of English language teaching in theories and practice for English-major students through Productive-based Learning.  In order to bring the result as a guideline in the management of English teaching through production learning. The population used in this study were 114 of the fifth year students in English, 5 English instructors, Faculty of Education, Valaya Alongkorn Rajabhat University and 35 graduate users. The research tools were two sets of the questionnaire: set one was the needs of graduate users and set two was the needs of English teaching through Productive-based Learning. The questionnaires were tested for validity and reliability. The Coefficient of Cronbach of the first questionnaires was 0.98, focusing on graduate quality, knowledge and teaching management. And the second questionnaires was 0.99. The graduates focused on curriculum management and measurement and evaluation.

คำสำคัญ

ความต้องการ, การจัดการเรียนการสอน, การเรียนรู้เชิงผลิตภาพ

Keyword

Needs, Teaching management, Productive-based Learning
ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 4

วันนี้: 546

เมื่อวานนี้: 600

จำนวนครั้งการเข้าชม: 789,479

สำนักงานสาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์

โทร: 0-4297-0033