บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการสะท้อนประสบการณ์การทำวิจัยแนวจิตตปัญญาศึกษาด้วยระเบียบวิธีวิจัยแบบอัตชาติพันธุ์วรรณนาซึ่งช่วยให้ผู้เขียนได้ทบทวนประสบการณ์ความเป็นมนุษย์และความเป็นครูภายในตนเองจนเกิดการคลี่คลายปมปัญหาต่าง ๆ ภายในใจ โดยมีข้อค้นพบที่สำคัญ 4 ข้อ ได้แก่ 1) การเจริญสติผ่านประสบการณ์จริงในชีวิตมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงโลกภายใน 2) การคลี่คลายปมปัญหาภายในใจต้องอาศัยการสะสมต้นทุนทางปัญญาที่มากพอ 3) การตระหนักว่าเราทุกคนต่างมีวิถีเฉพาะตน 4) การสร้างองค์ความรู้แบบจิตตปัญญาศึกษา คือ การเข้าถึงความเป็นมนุษย์ในตนเองและเคารพในความหลากหลาย
Abstract
This article is a reflection of an autoethnographic contemplative education research which helps the researcher review his experience as human being and teacher’s being within himself and resolve traumatic problems in his mind. There are 4 findings in this article which are; 1) mindfulness practice in real life affects one’s worldview directly 2) solving one’s trauma needs sufficient resource of wisdom 3) each of us has a unique life path 4) To generate contemplative education knowledge is to access one’s being and respect others’.
คำสำคัญ
จิตตปัญญาศึกษา, อัตชาติพันธุ์วรรณนา, ความเป็นครูKeyword
Contemplative education, Autoethnography, Teacher’s beingกำลังออนไลน์: 17
วันนี้: 0
เมื่อวานนี้: 1,195
จำนวนครั้งการเข้าชม: 969,184
อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033
บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย
ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์
โทร: 0-4297-0033