...
...
เผยแพร่: 31 ธ.ค. 2554
หน้า: 51-59
ประเภท: บทความวิจัย
View: 170
Download: 110
Download PDF
การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Development of a Suplementary Reading Book Titled Life of Plants in Substance Group of Science for Prathom Suksa 5 Students
ผู้แต่ง
จันทร์จิรา โกษาแสง, ถาดทอง ปานศุภวัชร, พจมาน ชำนาญกิจ
Author
Junjira Kosaseang, Thadthong Pansuppawat, Pochaman Chumnankit

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3) ศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนชุมชนนางัว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 จำนวน 28 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เนื่องจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนชุมชนนางัวมีจำนวน 2 ห้องเรียน และการวิจัยครั้งนี้ใช้แบบแผนการวิจัย One Group Pretest Posttest Design

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 เรื่อง 2) แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 1 ฉบับ จำนวน 30 ข้อ 5) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t–test แบบ Dependent Samples)

ผลการวิจัยพบว่า

1. หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนนางัว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.21/87.98 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนนางัว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนมเขต 2 หลังเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนนางัว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 หลังเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชุมชนนางัว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช อยู่ในระดับมากที่สุด

Abstract

The purposes of this research were to: 1) develop of a supplementary reading book titled Life of the Plants in substance group of science for Prathom Suksa 5 on standard efficiency of 80/80 ; 2) compare the learning achievement of Prathom Suksa 5 before and after learning the supplementary reading book titled Life of Plants in substance group of science ; 3) develop the science process skills of Prathom Suksa 5 before and after learning the supplementary reading book titled Life of Plants in substance group of science ; 4) examine the students’ satisfaction toward learning the supplementary reading book titled Life of Plants in substance group of science for Prathom Suksa 5.

The samples, obtained through purposive sampling technique, consisted of 28 Prathom Suksa 5 of Chumchonnangua School, Nakhon Pamom province, in the first semester of the academic year 2009.  The research design was one-group pretest-posttest. The instruments of this research included 1) the supplementary reading book titled Life of Plants in substance group of science for Prathom Suksa 5 (5 stories) ; 2) lesson plans of the supplementary reading book titled Life of Plants  in substance group of science for Prathom Suksa 5 ; 3) the science process skills assessment on Life of Plants in substance group of science for Prathom Suksa 5 ; 4) a learning achievement test (30 items) in science for Prathom Suksa 5 with 4 multiple choice options ; 5) a test of the students’ satisfaction toward learning the supplementary reading book titled Life of Plants in substance group of science for Prathom Suksa 5. 

The data were analyzed by means, percentage, standard deviation, and t-test (Dependent Samples).

The findings of this research were as follows:

1. The supplementary reading book titled Life of Plants in substance group of science for Prathom Suksa 5 at Chumchonnangua School was 83.21/87.98 which were higher than the standard criteria of 80/80.

2. The posttest average score of the students after learning by the supplementary reading book titled Life of Plants was higher than the pretest score at the .01 level of significance.

3. The science process skills assessment of Prathom Suksa 5 of Chumchonnangua school after learning the supplementary reading book titled Life of Plants was higher than before at the .01 level of significance.

4. The students’ satisfaction of Prathom Suksa 5 at Chumchonnangua School toward the supplementary reading book titled Life of Plants was at the highest level.


ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 1

วันนี้: 112

เมื่อวานนี้: 833

จำนวนครั้งการเข้าชม: 794,945

สำนักงานสาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์

โทร: 0-4297-0033