...
...
เผยแพร่: 30 เม.ย. 2555
หน้า: 35-43
ประเภท: บทความวิจัย
View: 230
Download: 105
Download PDF
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
Development of Learning Packages Entitled “Water and Air” In Science Substance Group Using Inquiry Method to Enhance Critical Thinking for Prathom Suksa 3
ผู้แต่ง
พงษ์พิศ พงษ์อินทร์ธรรม, ถาดทอง ปานศุภวัชร, ดร.อมรา เขียวรักษา
Author
Pongpit Ponginthum, Thadthong Pansupawat, Ummara Khiawraksa

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3) เปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียน บ้านทุ่งมนธาตุวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 จำนวน 18 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์และแบบวัดความพึงพอใจ รูปแบบการวิจัยใช้รูปแบบ One Group Pretest–Posttest Design สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (\bar{x}) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าร้อยละ และการทดสอบ t-test แบบ Dependent  Samples

ผลการวิจัยพบว่า

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องน้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ 81.60/81.30 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 

3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนหลังจากที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

4. ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง น้ำและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับมาก

Abstract

The purposes of this research were: 1) to development learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3 which contained the efficiency criterion of 80/80, 2) to compare the students’ achievements gained before and after they had learnt through the development learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, 3)  to compare the students’ critical thinking abilities gained before and after they had learnt through the development learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, and 4) to investigate the students’ satisfication of learning through the  they had learnt through the packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3.

The subjects were 18 Prathom Suksa 3 students studying in the second semester of 2010 academic year at Ban Tungmontatwittaya School under the Office of Sakon Nakhon Educational Pramary Service  Area 2. They were purposively selected. The tools used in the study were lesson plans,  the packages learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, a test to examine the students’ critical thinking ability, and a measurement form to explore the students’ satisfaction. One Group Pretest-Posttest Design was adopted in this experiment. The statistics used for data analysis include mean, standard deviation, percentage, and  t-test (Dependent Samples).

The results found were as follows:

1. learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3 contained the efficiency of 81.60/81.30 which was higher than the set criterion of 80/80.

2. After the students had learnt through the learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, their achievement was statistically higher than that of before at .05 level significance.

3. After the students had learnt through the learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, their thinking ability was statistically higher than that of before at .05 level significance.

4. The students’ satisfaction of learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3 was at the high level.


ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 5

วันนี้: 323

เมื่อวานนี้: 585

จำนวนครั้งการเข้าชม: 795,741

สำนักงานสาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์

โทร: 0-4297-0033