...
...
เผยแพร่: 31 ธ.ค. 2555
หน้า: 189-199
ประเภท: บทความวิจัย
View: 135
Download: 86
Download PDF
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองหอยใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1
Development of the Educational Institution Curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning Substances Group of Social Studies, Religion and Culture for Prathom Suksa 3 Ban Nonghoy Yai School, under the
ผู้แต่ง
มาลัยวรรณ แสนสุภา, อุษา ปราบหงษ์
Author
Malaiwan Sansupa, Usa Prabhong

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2) ศึกษาประสิทธิภาพของหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนบ้านหนองหอยใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 จำนวน 20 คน การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบแผนการวิจัย One Group Pre-test Post-test Design

การพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) การศึกษาและสำรวจข้อมูลพื้นฐาน 2) การพัฒนาหลักสูตร 3) การทดลองใช้หลักสูตร 4) การประเมินและปรับปรุงหลักสูตรเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่น นาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t–test)

ผลการวิจัยพบว่า

1. ผลการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า หลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีความเหมาะสมมากและสามารถนำไปใช้ได้

2. ผลการทดลองใช้หลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 81.30/89.67 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ประสิทธิภาพที่กำหนด คือ 80/80

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองหอยใหญ่ ที่มีต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง แดนดินถิ่นนาแก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม อยู่ในระดับมากที่สุด

Abstract

The purposes of this study were: 1) to develop the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning Substances Group of Social Studies, Religion and Culture for Prathom Suksa 3, 2) to investigate the efficiency of the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning Substances Group of Social Studies, Religion and Culture for Prathom Suksa 3 based on the efficiency criteria set at80/80, 3) to compare Prathom Suksa 3 students’ learning achievements gained before and after they had learnt though the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning Substances Group of Social Studies, Religion and Culture 4) to survey Prathom Suksa 3 students’ the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning Substances Group of Social Studies, Religion and Culture. The subjects were 20 Prathom Suksa 3 students who were learning in the second semester of 2011 academic year at Ban Nonghoy Yai School under the Nakhon Phanom Primary Educational Service Area Office 1. One–group pre-test post-test design. Was adopted for this study.

The curriculum development procedure consisted of following stages: 1) studying basic data, 2) developing the curriculum, 3) curriculum trial, 4) evaluating and improving the curriculum. The instrument used were the curriculum and its documents ; learning management plan of the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning Substances Group of Social Studies, Religion and Culture ; learning achievement test ; and the questionnaire to survey the students’ satisfaction. The statistics used included percentage, mean, standard deviation, and t-test.

The research showed the following results:

1. The curriculum and its documents ; learning management plan of the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning  Substances Group of Social Studies, Religions and Culture for Prathom Suksa 3 assessed by the specialists were suitable and could be implemented in the institution.

2. After trial, it was found that the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning  Substances Group of Social Studies, Religions and Culture for Prathom Suksa 3 developed by the research had is efficiency of 81.30/89.67,  which was higher than the set criteria 80/80.

3. After the students had learnt through the educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning  Substances Group of Social Studies, Religions and Culture for Prathom Suksa 3 their learning achievements of was higher than that of befor

4. The students’ satisfaction of educational institution curriculum in Additional Subject Entitled “Dan Din Thin Nakae (Local Land Called Nakae)” of Learning Substances Group of Social Studies, Religions and Culture for Prathom Suksa 3 was at the highest level.


ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 151

วันนี้: 1,303

เมื่อวานนี้: 471

จำนวนครั้งการเข้าชม: 826,855

สำนักงานสาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์

โทร: 0-4297-0033