...
...
เผยแพร่: 30 เม.ย. 2556
หน้า: 239-246
ประเภท: บทความวิจัย
View: 153
Download: 121
Download PDF
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Development of Mathermatical Learning Activities Using Metacognitive Strategies on Addition Subtraction Multipication Division of Fractions for Prathom Suksa 5
ผู้แต่ง
มานิดา คำจันทร์, สำราญ กำจัดภัย, ประยูร บุญใช้
Author
Manida Kumchan, Sumran Gumjudpai, Prayoon Boonchai

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 75/75 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน 3) เปรียบเทียบความสามารถด้าน เมตาคอกนิชันของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน และ 4) ศึกษาเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน

กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนบ้านดอนกกโพธิ์ค่ายเสรีวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 จำนวน 16 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง แบบแผนการวิจัยใช้แบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน (One-Group Pre-test Post-test Design)สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ชนิด Dependent Samples

ผลการวิจัยพบว่า

1. กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ 75.06/78.63 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

2. นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3. นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน มีเมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน มีความสามารถด้านเมตาคอกนิชัน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

4. นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอกนิชัน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน มีเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก

Abstract

The purposes of this research were 1) to development of mathermatical learning activities using metacognitive strategies on addition subtraction multipication division of fractions with the efficiency criterion of 75/75, 2) to compare the achievement of mathermatical learning activities using metacognitive strategies on addition subtraction multipication division of fractions pre–learning and post–learning, 3) to compare of mathermatics instruction using metacognition of the students pre–learning and post–learning of mathermatical learning activities using metacognitive strategies on addition subtraction multipication division of fractions and 4) to study the students’ attitude towards of mathermatical learning activities using metacognitive strategies on addition subtraction multipication division of fractions.

The sample group consisted of 16 Prathom Suksa 5 students of Ban Donkokpho School under the Office of Nakhon Panom Educational Service Area 1 in the second semester of academic year 2011. The group was selected by purposive sampling technique. The “One–Group Pretest–Posttest Design” was utilized in this study. Statistics used were Percentage, mean, standard deviation, and t–test (Dependent Samples).

The results of the research were:

1. The mathermatical learning activities using metacognitive strategies on addition subtraction multipication division of fractions prathomsuksa 5 students with the efficiency of by the researcher was 75.06/78.63, which was higher than the set criterion.

2. The postest average scores of mathermatical learning achievement of the students gained after they had learnt through the instructional activities developed by using metacognitive strategies on addition subtraction multipication division of fractions was higher than of their pretest at the .01 level of significance.

3. The postest average scores of metacognition of the students learnt through the instructional activities developed by using the instructional activities on addition subtraction multipication division of fractions was higher than their pretest average score at the .01 level of significance.

4. The students’ attitude towards the mathermatic instructional activities developed by using metacognitive strategies on addition subtraction multipication division of fractions was higher than level.


ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 7

วันนี้: 1,002

เมื่อวานนี้: 471

จำนวนครั้งการเข้าชม: 826,554

สำนักงานสาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์

โทร: 0-4297-0033