...
...
เผยแพร่: 31 ธ.ค. 2559
หน้า: 203-211
ประเภท: บทความวิจัย
View: 154
Download: 56
Download PDF
ผลการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
A Report of the Development of Exercises for Enhancing Skills in a Series of Spelling Sections, Thai Language Learning Substance Group, for Prathom Suksa 1 Students
ผู้แต่ง
ระเบียบ จามน้อยพรหม
Author
Rabiab Jamnoiprom

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) หาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนเทศบาล 2 “เชิงชุมอนุชนวิทยา” สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสกลนคร อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวนนักเรียน 29 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Sample Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม (Sampling Unit) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 9 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดมาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชุด มาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผล (E.I.)

ผลการวิจัยพบว่า

1. แบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ 91.15/89.31 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้

2. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7687 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นเท่ากับ 0.7687 หรือร้อยละ 76.87

3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ ชุดมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับมาก (\bar{x} = 2.79)

Abstract

The purpose of this study were: 1) to develop exercises for enhancing skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group for Prathom Suksa 1 students according to the anticipated efficiency set at 80/80 criterion, 2) to find the effectiveness index of exercises for enhancing skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students, and 3) to examine students’ satisfaction with the exercises for enhancing skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students. A sample as selected by cluster random sampling using a classroom as a sampling unit was 29 Prathom Suksa 1 students in classroom 3 who were enrolled in the second semester of academic year 2014 at Municipal School 2 ‘Choengchum-Anuchum-Withaya’, Department of Education, Sakon Nakhon City Municipality, Mueang district, Sakon Nakhon province. The instruments used were: 1) exercises to enhance skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students which consist of 9 episodes, 2) a learning management plan in a series of spelling sections, for Prathom Suksa 1 students, 3) a test of achievement in learning on spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students, and 4) a questionnaire asking students’ satisfaction with the exercises for enhancing skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students. Statistics used in data analysis were mean, standard deviation, percentage, and formula for finding the effectiveness index.

The findings were:

1. The exercises for enhancing skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students had efficiency of 91.15/89.31 which is higher than the criterion set at 80/80.

2. The effectiveness index of the exercises for enhancing skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students had the effectiveness index of 0.7687. It shows that the students had an increased knowledge of 0.7687 or 76.87%.

3. The students’ satisfaction with the exercises for enhancing skills in a series of spelling sections, Thai language learning substance group, for Prathom Suksa 1 students was at high level (\bar{x} = 2.79).

คำสำคัญ

แบบฝึกเสริมทักษะ, ชุดมาตราตัวสะกด

Keyword

analytical thinking, inquiry cycles (5Es), graphic organizer, ecosystem
ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 11

วันนี้: 307

เมื่อวานนี้: 477

จำนวนครั้งการเข้าชม: 790,356

สำนักงานสาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์

โทร: 0-4297-0033