...
...
เผยแพร่: 10 ม.ค. 2562
หน้า: 145-151
ประเภท: บทความวิชาการ
View: 487
Download: 219
Download PDF
อภิปัญญาและมิติใหม่อนุกรมวิธานจุดมุ่งหมายทางการศึกษา
Metacognitive system and New Taxonomy
ผู้แต่ง
พิจิตรา ธงพานิช
Author
Phichittra Thongpanit

บทคัดย่อ

การพัฒนาทักษะทางปัญญาเป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน การพัฒนาทักษะทางปัญญาจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาระบบความคิดของตนเองได้ในที่สุด Marzano ได้นำเสนอระบบอภิปัญญา (Meta cognitive System) ถือเป็นระบบที่มุ่งสร้างให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบนำตนเอง (Self–Directed Learning) ที่มุ่งให้ผู้เรียนควบคุมกำกับดูแลการปฏิบัติภาระงานชิ้นงาน ตามจุดหมายที่กำหนด รวมถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับกลยุทธ์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการกำกับติดตามดูแลปรับปรุงปรับเปลี่ยนกลยุทธ์วิธีการต่าง ๆ ตามความจำเป็นและเหมาะสมให้ภาระงานชิ้นงานนั้นลุล่วงตามภารกิจ Meta cognition เพื่อส่งเสริมระบบการควบคุมตนเองของนักศึกษาให้ปฏิบัติภาระงาน ชิ้นงานที่เกิดขึ้นให้บรรลุ สำหรับการประยุกต์ใช้ระบบอภิปัญญาตามแนวคิดของ Marzano นั้น ผู้สอนต้องเข้าใจพฤติกรรมและระดับการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางปัญญาในแต่ละระดับได้อย่างเหมาะสม

Abstract

The development of cognitive skills is a crucial component of learners’ competency development, and will eventually enhance learners to develop their thinking system. Marzano proposed meta-cognitive system in order to improve learners’ ability in self-directed learning. This system helps learners to accomplish assignments according the set goals, and to decide about strategies, tactics and related information. Besides, it helps learners to monitor and adjust strategies to be suitable for the meta-cognition tasks, so that they can self-control and complete the task successfully. In order to apply the Marzano’s concept, teachers need to understand learners’ behaviors and levels of learning, so that teachers can promote the development of cognitive skills in each level appropriately.

คำสำคัญ

อภิปัญญา, จุดมุ่งหมายทางการศึกษา

Keyword

Metacognition, Educational Objectives
ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

กำลังออนไลน์: 18

วันนี้: 942

เมื่อวานนี้: 1,300

จำนวนครั้งการเข้าชม: 971,977

สำนักงานสาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033

ติดต่อเรา

บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์

โทร: 0-4297-0033