บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาประสิทธิภาพของบทเรียนอีเลิร์นนิงแบบผสมผสาน รายวิชาเคมี สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนอีเลิร์นนิง รายวิชาเคมี และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนอีเลิร์นนิง รายวิชาเคมี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และลงทะเบียนเรียนรายวิชาเคมี กลุ่มเรียนที่ 355 จำนวน 47 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิงแบบผสมผสาน รายวิชาเคมี แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเคมี และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนอีเลิร์นนิง รายวิชาเคมี สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (T-Test Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1. บทเรียนอีเลิร์นนิงแบบผสมผสาน รายวิชาเคมี สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.60/82.34 สูงกว่าเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนอีเลิร์นนิงสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านบทเรียนอีเลิร์นนิง รายวิชาเคมี ภาพรวม อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.58, S.D. = 0.51)
Abstract
The objectives of this research were to 1) determine the effectiveness of blended e-learning lessons in Chemistry for undergraduate students, 2) compare the pre-and post-learning achievements of undergraduate students after learning through the blended teaching and learning management with e-learning lessons in Chemistry, and 3) examine the satisfaction of undergraduate students with the blended teaching and learning management through e-learning lessons in Chemistry. The sample group was 47 undergraduate students from the Faculty of Information Technology and Digital Innovation at North Bangkok University. They enrolled in Chemistry (Sec. 355) in the second semester of the 2021 academic year and were randomly selected through a lottery method. Research tools consisted of blended e-learning lessons in Chemistry for undergraduate students, a learning achievement form on Chemistry, and a set of questionnaires on student satisfaction toward the blended teaching and learning management through e-learning lessons in Chemistry. The statistics for data analysis consisted of mean, standard deviation, and t-test (Dependent Samples). The results indicated that: 1. The efficiency of blended e-learning lessons in Chemistry for undergraduate students was 82.60/82.34, which was higher than the 80/80 threshold set. 2. The post-learning achievement of undergraduate students after learning with the blended teaching and learning management through e-learning lessons in Chemistry was higher at the 0.05 level of significance. 3. The overall satisfaction of undergraduate students toward the blended teaching and learning management through e-learning lessons in Chemistry was at the highest level ( = 4.58, S.D. = 0.51).
คำสำคัญ
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน, บทเรียนอีเลิร์นนิง, รายวิชาเคมีKeyword
Blended Teaching and Learning Management, E-learning Lessons, Chemistryกำลังออนไลน์: 25
วันนี้: 782
เมื่อวานนี้: 873
จำนวนครั้งการเข้าชม: 968,771
อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033
บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย
ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์
โทร: 0-4297-0033