บทคัดย่อ
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สาระพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยกำหนดความมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์สาระพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) ศึกษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สาระพุทธศาสนากลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ 80/80 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สาระพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4) ศึกษาเจตคติของผู้เรียนต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สาระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอุ่มเหม้าประชาสรรค์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สาระพระพุทธศาสนา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ และแบบวัดเจตคติของนักเรียน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สาระพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์กล่าวคือมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 86.74/80.17
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สาระพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. นักเรียนมีเจตคติต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สาระพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับดี
Abstract
The Development of an Activity Package for Enhancing Creativity in Buddhism Substance of the Strands of Social Studies, Religions and Cultures for Mathayom Suksa 2 Students was aimed at 1) developing the activity package for enhancing creativity in Buddhism Substance of the Strands of Social Studies, Religions and Cultures for Mathayom Suksa 2 Students, 2) investigating the efficiency of the developed according to the established criteria of 80/80, 3) comparing the students’ achievements before and after they had studied through the developed activity package for enhancing creativity in Buddhism Substance of the Strands of Social Studies, Religions and Cultures for Matthayom Suksa 2 Students, 4) investigating the students’ attitude towards the developed activity package for enhancing creativity in Buddhism Substance of the Strands of Social Studies, Religions and Cultures for Mathayom Suksa 2 Students. The subjects were 35 Mathayom Suksa 2 Students who were enrolling in the second semester of the 2007 academic year at Um-maopracahsan School. The instruments were the developed activity package, an achievement test, and the questionnaire used for surveying the students’ attitude towards the developed activity package.
The study revealed the following results:
1. The developed activity package for enhancing creativity in Buddhism Substance of the Strands of Social Studies, Religions and Cultures for Mathayom Suksa 2 Students constructed by the researcher had an efficiency of 86.74/80.17.
2. After the students had learnt through the developed activity package for enhancing creativity in Buddhism Substance of the Strands of Social Studies, Religions and Cultures for Mathayom Suksa 2 Students, their achievement was statistically higher than that of before at .01 level of significance.
3. As a whole, the students’ attitude towards the developed activity package for enhancing creativity in Buddhism Substance of the Strands of Social Studies, Religions and Cultures for Mathayom Suksa 2 Students was at the high level.
กำลังออนไลน์: 15
วันนี้: 622
เมื่อวานนี้: 1,300
จำนวนครั้งการเข้าชม: 971,657
อาคารบัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 3 เลขที 680 หมู่ที่ 11 ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-4297-0033
บรรณาธิการ: รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย
ติดต่อ/สอบถาม: นางสาวศิวาภรณ์ เก่งสุวรรณ์
โทร: 0-4297-0033